วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

图组:甘肃 张掖丹霞地貌 zhangye Danxia landform , Gansu, China อัศจจรย์ดินแดนสีรุ้ง




七彩丹霞冠绝天下(张掖丹霞地质公园)美如画


张掖丹霞地貌被 <国家地理> 评为 “中国最美奇异地貌”

Colourful rock formations in the Zhangye Danxia Landform Geological Park


อัศจรรย์ ภูเขาสีรุ้ง  ธรรมชาติสรรสร้าง  งามเหมือนภาพวาด 

ที่ มรดกโลก อุทยานธรณีวิทยา "จางเย่ ตันเซี๋ย " 

มณฑล กานซู่  ตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศจีน

ได้รับการจัดอันดับจากจีนให้เป็น  “中国最奇异的地貌”


ธรณีสัณฐาน ภูมิลักษณ์ ที่สวยและแปลกตาที่สุดของจีน

ชนชาติส่วนน้อยท้องถิ่นแถบนั้นเรียกว่า ภูเขาสีแดง

  ( “阿兰拉格达”  , 红色的山 .) 

สันนิฐานว่าเป็นประติมากรรมทางธรรมชาติที่เกิดจากหินทราย  

แร่ชนิดต่างๆ

ผ่านการขัดเกลาจากธรรมชาติทั้งพายุ ลมฝน แดด 

มากว่า 2 ล้านปี ( 200 万年) 


landform ธรณีสัณฐาน, ภูมิลักษณ์ ภาษาจีนใช้คำว่า 地貌 Dìmào

หมายถึง แบบรูปของเปลือกโลกที่มีลักษณะรูปพรรณสัณฐาน

ต่าง ๆ กัน เช่น เป็นภูเขาที่ราบ ที่ลุ่ม เป็นต้น



ธรณีสัณฐานแบบนี้  ตามรายงานของสื่อจีนบอกว่า พบในจีนเท่านั้น  
ปัจจุบัน เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่มีคนสนใจไปชมเป็นจำนวนมาก
 นักเรียนคนหนึ่งของเหล่าซือก็เพิ่งไปชมเมื่อเดือนเมษายน ที่ผ่านมา 
เห็นเล่าว่า ต้องเดินทางไกลมาก ส่วนมากจึงเป็นนักท่องเที่ยวจีน  
ยังไม่ค่อยมีนักท่องเที่ยวต่างชาติมากนัก  
 ในบริเวณใกล้เคียงกัน ยังมีแนวเขาที่มีลักษณะนี้อีก 5 แห่ง 
และได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแล้วทั้งหมด ตั้งแต่ ปี 2010 หรือ 2553  



ขอบคุณภาพถ่ายจากเว็บไซต์ต่างๆ  


每日甘肃 www.gansudaily.com.cn

ชมภาพ พาโนรามา ได้เพิ่มเติม ที่ http://dcbbs.zol.com.cn/90/167_898630.html 



www.outdoor.com.cn 
tt.mop.com
新华网 
中新网
铁血社区
中国岩土网







 


 


















 


























 








































































คำบรรยายภาษาจีนจาก เว็บไซต์ 百度旅游
张掖丹霞地貌

来源:  百度旅游 2013-10-12 10:58

张掖丹霞地貌位于甘肃省河西走廊中段的张掖市,古为河西四郡之一张掖郡,
取 “断匈奴之臂,张中国之掖(腋)”  之意。

张掖丹霞地貌在方圆一百平方山地丘陵地带,有造型奇特,
色彩斑谰,气势磅礴的丹霞地貌。

  丹霞是指红色砂砾岩经长期风化剥离和流水侵蚀,
形成的孤立的山峰和陡峭的奇岩怪石。这里的丹霞地貌
发育于距今约  200  万年的前侏罗纪至第三纪。

 数以千计的悬崖山峦全部呈现出鲜艳的丹红色和红褐色,
相互映衬各显其神,展示出 “色如渥丹,灿若明霞” 的奇妙
风采,把祁连山雕琢得奇峰突起,峻岭横生,五彩斑斓,
当地少数民族把这种奇特的山景称为
“阿兰拉格达”  (意为红色的山)。

ไม่ได้ไปเที่ยว ดูภาพธรรมชาติก็มีความสุขนะคะ
ผี

คนไทยที่เคยไปเที่ยวที่อุทยานเขาสีรุ้งแห่งนี้ ยังมีไม่มากนัก เนื่องจากต้องเดินทางไกล
ภาพสุดท้าย ถ่ายโดย คุณสุกัญญา ปลั่งวุฒิกุล  ที่เดินทางไปชมด้วยสายตาตัวเองเมื่อเดือนเมษายน 2013 นี้



Flag Counter

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น