เรื่องนี้่โพสต์ครั้งแรกที่โอเคเนชั่นบล็อก
วันที่ 5 มิถุนายน 2012 (2555)
http://www.oknation.net/blog/chineseclub/2012/06/05/entry-1
.......
北京雍和宫
วันนี้เป็นเรื่องหนักหน่อยนะคะ เป็นเกร็ดประวัติศาสตร์จีนช่วงยงเจิ้งฮ่องเต้เมื่อประมาณ 300 กว่าปีก่อนค่ะ
ต่อจากเอนทรี่
วัดลามะในปักกิ่งปัจจุบันกับการแย่งชิงบัลลังก์และอำนาจในอดีตhttp://www.oknation.net/blog/chineseclub/2012/06/03/entry-1
หมายเหตุ
เกี่ยวกับเรื่องราวของยงเจิ้งฮ่องเต้ นักประวัติศาสตร์ก็ยังมีความเห็นที่ขัดแย้งกันอยู่
เป็นทรราชย์ ? จักรพรรดิ์เลือด ? หรือว่า เป็นกษัตริย์นักปฏิรูปที่ถูกผู้เสียประโยชน์ใส่ร้าย ?
ข้อมูลที่ผู้เขียนหาเจอและนำมาเสนอนี้ อาจเป็นข้อมูลเพียงด้านเดียว
ประวัติความเป็นมาของวัดลามะที่ปักกิ่ง ยงเหอกง 雍和宫 นี้ มีความเป็นมาที่น่าสนใจคือ ก่อนที่จะมาเป็นปูชนียสถานนั้น เคยเป็นที่พักของขันทีของราชวงศ์หมิง (明朝)มาก่อน
เมื่อสิ้นราชวงศ์หมิง(明朝) ชาวแมนจู(满族)ที่เป็นชนเผ่าที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนบุกยึดเมืองหลวง (ปักกิ่ง ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่าเป่ยผิง) เมื่อยึดเมืองหลวงได้แล้ว ชาวแมนจูก็ยึดพระราชวังกู้กงและทรัพย์สินทุกอย่างรวมทั้งที่ดินของกลุ่มอำนาจเดิมราชวงศ์หมิง สถาปนาราชวงศ์ชิง(清朝)ขึ้น
ชนชาติแมนจู ขณะนั้นยังไม่ได้รวมเป็นชนชาติหนึ่งของประเทศจีน แต่เป็นคนละชนเผ่าที่มีการสู้รบกระทบกระทั่งกับจีนบ่อย กำแพงเมืองจีนคือป้อมปราการหนึ่งในการป้องกันการรุกรานจากชาวแมนจูและชาวมองโกลทางด้านทิศเหนือของจีน ถิ่นฐานเดิมของชาวแมนจู ปัจจุบันก็คือแถบมณฑลเฮยหลงเจียง 黑龙江 ที่มีเมืองฮาร์บิน 哈尔滨 ตั้งอยู่
ภาพในป้ายนี้ มีถึง 4 ภาษา เรียงจาก ขวามาซ้าย
คือ ภาษาแมนจู ภาษาฮั่น ภาษาธิเบต และ ภาษามองโกล
ทราบหรือมไม่ ? ทำไมป้ายในพระราชวัง สถานโบราณของจีนบางแห่ง ถึงมีสองภาษา ? และทำไมวัดลามะ ถึงมีชื่อเป็น "กุ๊ง" (วัง) ?
ต่อมาคังซีฮ่องเต้(康熙皇帝)ฮ่องเต้องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ชิง ได้พระราชทานที่ส่วนนี้ให้เป็นตำหนักของโอรสองค์ที่ 4 ของพระองค์ซึ่งต่อมาก็คือยงเจิ้งฮ่องเต้(雍正皇帝)หรือที่คนไทยเรียกว่าหย่งเจิ้งฮ่องเต้นั่นเอง 雍正皇帝 1678 - 1735 รวม 58 พรรษา
คำว่า 雍正 ออกเสียงเป็นภาษาจีนกลาง (普通话) ว่า Yong วรรณยุกต์เสียง 1 ภาษาไทยทับศัพท์ว่า " ยง " เจิ้ง 雍和宫 จึงออกเสียงเป็น ยงเหอกุง
นอกจากยงเจิ้งฮ่องเต้เคยประทับที่นี่แล้ว เฉียนหลงฮ่องเต้ (乾隆皇帝) ซึ่งเป็นพระโอรสของยงเจิ้งฮ่องเต้ได้ครองราชย์ต่อจากพระบิดาเป็นฮ่องเต้องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิงก็ประสูติที่ยงเหอกงแห่งนี้ด้วย ดังนั้น สีของยงเหอกงหรือวัดลามะแห่งนี้ จึงได้รับอนุญาตให้ใช้สีแดงเลือดนกและสีเหลือง ซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากับพระราชวังกู้กง
คังซีฮ่องเต้ (康熙皇帝) ฮ่องเต้องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ชิง ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ 8 พรรษา และครองราชย์นาน 61 ปี
ยงเจิ้งฮ่องเต้ (雍正皇帝) ฮ่องเต้องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ชิง ครองราชย์ 13 ปี
เฉียนหลงฮ่องเต้ (乾隆皇帝) ฮ่องเต้องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง ครองราชย์นาน 60 ปี และสละราชบัลลังก์ก่อนสิ้นพระชนม์
หลังจากยงเจิ้งฮ่องเต้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้ย้ายไปประทับที่พระราชวังกู้กง และยกที่ดินครึ่งหนึ่งของที่นี่ให้แก่พระลามะธิเบตรูปหนึ่ง โดยใช้สถานที่แห่งนี้ในการบริหารกิจการเกี่ยวกับศาสนาพุทธนิกายมหายานแบบธิเบตในประเทศจีน และในเวลาต่อมาเฉียนหลงฮ่องเต้ได้ยกที่ทั้งหมดให้แก่วัดลามะ
มีข้อสังเกตว่า ช่วงที่ชาวแมนจูหรือราชวงศ์ชิงปกครองจีน ได้มีการยกทัพลงใต้เพื่อไล่ฆ่าคนที่จงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิง และปราบปรามชาวจีนที่ไม่ยอมรับการปกครองของแมนจูอย่างทารุณ ในยุคของยงเจิ้งฮ่องเต้ก็เช่นกัน
เอนทรี่ก่อนหน้านี้ ท่านบล็อกเกอร์ Bluehill ได้ตั้งข้อสังเกตว่า
...... " เหล่าซือครับ
ผมเคยอ่านหนังสือนิยายกำลังภายใน
ผู้เขียนหลายคนมักวาดภาพหลวงจีนลามะว่า มีวิทยายุทธสูงส่ง แต่โหดเหี้่ยมและใจร้ายมาก
น่าจะเป็นจินตนาการของผู้แต่งนิยายชาตินิยมหรือเปล่าครับ "...................
ผู้เขียนเห็นว่า เป็นข้อสังเกตที่น่าคิดอย่างยิ่ง การที่ยงเจิ้งฮ่องเต้ยกที่ดินของพระตำหนักเดิมของพระองค์ให้กับพระลามะในขณะที่เผชิญกับการต่อต้านจากชาวจีนนั้น เป็นไปเพราะความเลื่อมใสศรัทธาหรือว่ามีการร่วมมือทางการเมืองเพื่อต่อสู้กับชาวจีน ? หรือทั้งสองส่วนรวมกัน
แต่ในหนังจีนกำลังภายใน (ซึ่งบางท่านเขียนนวนิยายการเมืองเชิงประวัติศาสตร์) ก็อาจจะมีการจินตนาการหรือเปรียบกับการนำยอดฝีมือจากธิเบตมาสู้กับชาวจีน (**ส่วนนี้ผู้เขียนคิดเองนะคะ ผิดถูกก็ถือว่าอ่านเล่นๆ ไมจริงจังนะคะ ไม่ได้เรียนสาขาประวัติศาสตร์มา)
เกี่ยวกับเส้นทางการขึ้นครองราชย์และวิธีการสู่อำนาจของยงเจิ้งฮ่องเต้ มีหนังจีนที่สร้างเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ช่วงนี้ไว้หลายเรื่อง เรื่องที่ดังมากและยังเป็นที่รู้จักและคุ้นหูกันก็คือ " ศึกสายเลือด 大内群英" โดยมีตัวละครเอกคือ องค์ชาย 4 กับ ลี่ซื่อเหนียง (吕四娘)โดยองค์ชาย 4 ได้ทำการแก้พระราชโองการที่แต่งตั้งองค์ชาย 4 (พระองค์เอง) ให้เป็นรัชทายาทแทนองค์ชาย 14 ซึ่งเป็นพระอนุชา และในที่สุดก็ได้ขึ้นครองราชย์ ส่วนนางเอกในเรื่องคือ ลวี่ซื่อเหนียง ชาวจีนฮั่นที่พยายามลักลอบเข้าวังเพื่อปลงพระชนม์ยงเจิ้งฮ่องเต้
เรื่องนี้เท็จจริงเป็นอย่างไร ในประวัติศาสตร์จีนไม่มีบันทึกไว้เป็นทางการ มีแต่เรื่องเล่า เนื่องจากสาเหตุการสวรรคตของยงเจิ้งฮ่องเต้ก็ไม่มีการระบุชัดเจน บันทึกแต่เพียงว่าสวรรคตอย่างกระทันหัน หลังจากครองราชย์ได้ 13 ปี เรื่องเล่าบ้างเล่าว่าเกิดจากพระประชวร บ้างเล่าว่าถูกสวี่ซื่อเหนียง (吕四娘) ซึ่งเป็นบุตรสาวหรือหลานสาวของขุนนางตระกูลสวี่ท่านหนึ่งที่ถูกยงเจิ้งฮ่องเต้สังหารทั้งตระกูล ลอบปลงพระชนม์เพื่อแก้แค้นให้กับตระกูลลวี่
ข้อมูลภาษาจีนที่หาเจอได้ก็มีอยู่ว่า หลังจากยงเจิ้งฮ่องเต้ขึ้นครองราชย์แล้ว ได้มีการกำจัดพระอนุชาและฆ่าคนรับใช้เก่าแก่ของคังซีฮ่องเต้
เอนทรี่ก่อนหน้านี้ ท่านบล็อกเกอร์ tengpong ได้กรุณามาให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า
...........ส่วนตัวก็ยังชมชอบวัดลามาะแห่งนี้อยู่มาก เพราะได้เคยไปมาก็หลายครั้งหลายหน
วังของฮ่องเต้หย่งเจิ้ง เป็นลูกของฮ่งเต้คังซี ในอันดับที่ ๔ จึงถูกเรียกว่าองค์ชาย ๔ แต่ได้เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ ๓ แห่งราชวงศ์ชิง ต่อจากฮ่องเต้คังซี....ซึ่งมีบางบันทึกล่าวไว้ว่าฮ่องเต้หย่งเจิ้ง แอบแก้พินัยกรรมของฮ่องเต้คังซี โดยการลบเลข ๑ จาก ๑๔ เหลือแค่เลข ๔ เพื่อที่จะขึ้นครองราชย์
แต่ส่วนตัวผมยังเชื่อว่าพระองค์ไม่ได้แก้ เพราะหลักฐานในพินัยกรรมของกษัตริย์สมัยชิงนั้นจะเขียนด้วยภาษา ๔ ภาษา คือ แมนจู, ฮั่น, ธิเบตและ มองโกล เหมือนในป้ายชื่อวัดที่เหล่าซือถ่ายมานั่นแหละครับ จึงเป็นการยากที่จะแก้ได้ทั้งหมด เพราะภาษาต่างกัน
อีกส่วนหนึ่งที่ผมชอบคือ อ่างล้างพระวรกายของฮ่องเต้เฉียนหลง เมื่อครั้งประสูตร ที่ยังเก็บไว้ที่วัดนี้ แต่ว่าประชาชนเอาเงินไปใส่ในตู้นั้นเพื่อบริจาค จนมากมายจนมองไม่เห็นอ่างที่สำคัญนี้แล้ว
และไฮไลท์อีกอย่างคือ พระพุทธรูปที่แกะสลักจากไม้จันทร์ท่อนเดียว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่ได้รับเป็นบรรณาการจากธิเบต สูงรวม ๒๔ เมตร (อยู่ใต้พื้น ๖ เมตร เป็นองค์พระ ๑๘ เมตร (ตัวเลขผมไม่ค่อยแน่ใจนะครับเหล่าซือ) แต่เสียดายที่เขาห้ามถ่ายภาพ เหล่าซือก็เลยไม่ได้ภาพมาใช่ไหมครับ
.................
วังของฮ่องเต้หย่งเจิ้ง เป็นลูกของฮ่งเต้คังซี ในอันดับที่ ๔ จึงถูกเรียกว่าองค์ชาย ๔ แต่ได้เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ ๓ แห่งราชวงศ์ชิง ต่อจากฮ่องเต้คังซี....ซึ่งมีบางบันทึกล่าวไว้ว่าฮ่องเต้หย่งเจิ้ง แอบแก้พินัยกรรมของฮ่องเต้คังซี โดยการลบเลข ๑ จาก ๑๔ เหลือแค่เลข ๔ เพื่อที่จะขึ้นครองราชย์
แต่ส่วนตัวผมยังเชื่อว่าพระองค์ไม่ได้แก้ เพราะหลักฐานในพินัยกรรมของกษัตริย์สมัยชิงนั้นจะเขียนด้วยภาษา ๔ ภาษา คือ แมนจู, ฮั่น, ธิเบตและ มองโกล เหมือนในป้ายชื่อวัดที่เหล่าซือถ่ายมานั่นแหละครับ จึงเป็นการยากที่จะแก้ได้ทั้งหมด เพราะภาษาต่างกัน
อีกส่วนหนึ่งที่ผมชอบคือ อ่างล้างพระวรกายของฮ่องเต้เฉียนหลง เมื่อครั้งประสูตร ที่ยังเก็บไว้ที่วัดนี้ แต่ว่าประชาชนเอาเงินไปใส่ในตู้นั้นเพื่อบริจาค จนมากมายจนมองไม่เห็นอ่างที่สำคัญนี้แล้ว
และไฮไลท์อีกอย่างคือ พระพุทธรูปที่แกะสลักจากไม้จันทร์ท่อนเดียว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่ได้รับเป็นบรรณาการจากธิเบต สูงรวม ๒๔ เมตร (อยู่ใต้พื้น ๖ เมตร เป็นองค์พระ ๑๘ เมตร (ตัวเลขผมไม่ค่อยแน่ใจนะครับเหล่าซือ) แต่เสียดายที่เขาห้ามถ่ายภาพ เหล่าซือก็เลยไม่ได้ภาพมาใช่ไหมครับ
.................
ดิฉันขอขอบคุณและก็คิดคล้ายๆ กับท่านบล็อกเกอร์ tengpong ค่ะ
แต่ไม่ว่ายงเจิ้งฮ่องเต้จะปลอมแปลงราชโองการหรือไม่ก็ตาม แต่ประวัติศาสตร์จีนก็มีการบันทึกไว้ว่า ช่วงนั้นมีการผูกมิตรกับพระลามะธิเบต และมีการฆ่าชาวจีนจำนวนมากเพื่อรักษาอำนาจการปกครองของชาวแมนจู
..................................
แต่อำนาจที่ได้มาทำให้ยงเจิ้งฮ่องเต้มีความสงบสุขหรือเปล่าไม่รู้
ประวัติความเป็นมาของวัดลามะกรุงปักกิ่ง ให้ข้อคิดมากมาย
การที่ชาวแมนจูสามารถเข้าปกครองจีนได้ ทั้งๆ ที่เป็นชนเผ่าส่วนน้อยที่มีกำลังน้อยกว่า ก็เพราะเกิดจากความอ่อนแอของกษัตริย์ราชวงศ์หมิงตอนปลาย การเกิดกบฎชาวนาที่นำโดย หลี่จื้อเฉิง (李志成) ที่เมื่อยึดปักกิ่งได้แล้วลุแก่อำนาจ จนเป็นเหตุให้ หวูซันกุ้ย (吴三桂) แม่ทัพใหญ่ของราชวงศ์หมิงที่เฝ้าด่านทางเหนือตัดสินใจเปิดด่านให้กองทัพแมนจูเข้ามาประชิดเมืองปักกิ่ง
เรื่องนี้พอจะให้อุทาหรณ์อะไรแก่เราได้บ้างหรือไม่
................................................................
ข้อมูลบางส่วนผู้เขียนแปลและเรียบเรียงจากเว็บไซต์ทางการของ YONGHEGONG
雍和宫网站 www.yonghegong.cn
และเว็บไซต์ http://baike.baidu.com/view/9419.htm ของจีน ดังตัวอย่างบางตอนต่อไปนี้
(1694年),康熙帝在此建造府邸、赐予四子雍亲王,称雍亲王府。雍正三年(1725年),改王府为行宫,称雍和宫。雍正十三年(1735年),雍正驾崩,曾于此停放灵柩,因此,雍和宫主要殿堂原绿色琉璃瓦改为黄色琉璃瓦。又因乾隆皇帝诞生于此,雍和宫出了两位皇帝,成了“龙潜福地”,所以殿宇为黄瓦红墙,与紫禁城皇宫一样规格。乾隆九年(1744年),雍和宫改为喇嘛庙。
......................
雍正之死民间传说和史书记载有不同的说法,其中民间传说雍正被吕四娘所刺杀的传说最为人所道。
.............
雍正
民族: 满族
生卒年: 1678—1735
生平简介
清世宗,名爱新觉罗·胤祯(公元1678年12月13日-1735年9月28日),康熙皇帝第四子,康熙病死后继位,为清代入关第3帝。在位13年,传说为侠女吕四娘报家仇所暗杀,终年58岁;一说为正常死亡,葬于河北泰陵(今河北省易县西)。
此外,雍正还有许多值得称道的政绩,如惩治贪污、解放贱民、平定罗卜藏丹津、始派驻藏大臣等,为中国的统一与发展作出了贡献。
但是,雍正也有严重的过失和局限。他在位期间虽没有出现大规模农民起义,但零散的反抗经常发生,雍正的镇压措施十分严厉。不论具体情节,抗官者即以反叛论处,斩杀不赦。甚至拒捕时,有人"共在一处,虽非下手之人,在旁目观,即系同恶共济",均斩立决。对民间秘密结社,嘱咐官吏们"时时察访,弋获首恶,拔树寻根,永断瓜葛"。苏州手工业工人要求增加工资,罢工叫歇,雍正严加惩处,立碑永禁叫歇。雍正时文字狱日益频繁,汪景祺因"谄附"年羹尧而立斩枭首,查嗣庭因趋奉隆科多而戮尸示众,陆生楠因议论时政而被军前正法。最为轰动的是吕留良案,吕是清初具有民族思想的学者,已去世40年,后有曾静、张熙读吕氏之书,受其影响,竟去策反岳钟琪,要他反清复明,酿成大案。吕留良被开棺戮尸,其儿子、学生处死刑。雍正朝文网甚密,株连人众,处刑严酷。知识分子动辄得咎,形成闭眼不敢看现实,缄口不敢谈政治的沉闷风气。
谈起雍正,就会想到他的继位问题,学术界历来有两种意见,一种认为他受康熙遗诏继位,是合法继承;一种认为康熙并未传位与他,雍正是矫诏夺位。由于雍正即位,篡改了历史,销毁了档案,现在已找不到他矫诏夺位的确凿证据。斧声烛影,已是千古的疑案,但从各种迹象推断,他的继位确实存在很多疑点。
康熙晚年,太子废立,诸子争位,闹得乌烟瘴气,储位虚悬,人心不定。当时因准噶尔入侵西藏,康熙命皇十四子胤禵为抚远大将军,统兵援藏,给以大权,用正黄旗,称大将军王,礼仪隆重,规格极高,康熙当是意有所钟。康熙称赞胤禵的才能"大将军是我皇子,确系良将,带领大军,深知有带兵才能"。很多人心目中也以胤禵为接班人,如皇九子胤禟说胤禵"聪明绝世","才德双全,我弟兄内皆不如";"十四爷现今出兵,皇上看的也很重,将来这皇太子一定是他"。可是,康熙在畅春园猝然去世,雍正与时任步军统领,掌管京师兵权的隆科多勾结密谋,夺取了帝位,而允远在青海,鞭长莫及,故而帝梦成空。雍正后来所讲康熙弥留前遗命传位雍正的情形,仔细推敲,矛盾甚多。如说隆科多为惟一顾命之大臣,而其他谕旨中却说,康熙死时隆科多不在御前,又说康熙传诏时皇十七子胤礼在寝宫外侍候,而其他史料证明,允礼时在皇宫内值班,并不在畅春园寝宫外,如此等等。因此,是否存在这一临终传位的现场,实属疑问。
由于雍正夺位篡立,激起了皇族内部的集体抗争,除皇十三子允祥以外,雍正的其他兄弟大多反对雍正继位。胤禵是争夺皇位的对手,被从前线调回,永远禁锢。皇八子胤禩、皇九子胤禟是雍正的死对头,雍正痛恨入骨,将二人迫害致死。皇十子胤(礻+我)和皇三子胤祉、胤祉的儿子弘晟均被永远囚禁,皇十二子胤祹被降爵贬秩,连雍正的亲生儿子弘时也不满其父的作为,竟站在八叔胤禩一边,被雍正处罚致死。据朝鲜的记载,雍正上台,被杀的宗室、官员达数百人。连康熙身边一位照料皇帝起居的内务府官员赵昌,在康熙死后也立即被杀,引起举朝震惊,这大概是赵昌太了解康熙去世和传位的真相,因而得祸。康熙生前长住畅春园,死后葬在东陵,而雍正长住圆明园,别建西陵,似乎要远远躲开父亲。须知雍正的迷信思想很浓厚,如果做了对不起父亲的事,就会有这类悖于常理的举止。雍正后来似乎也愧恧不安,乾隆说:胤禩、胤禵"觊觎窥窃,诚所不免,及皇考绍登大宝,怨尤诽谤,亦情事所有,将未有显然悖逆之迹。皇考晚年屡向朕谕及,愀然不乐,意颇悔之"。这是不是雍正受到了良心谴责的内心表露呢?
雍正的继位存在很多疑点,可能出于矫诏篡立。这样说并不是要抹煞他的历史功绩,应该说封建统治者骨肉相残是经常发生的。封建社会中,即使一个英明的君主也往往要用阴谋手段和残酷斗争来夺取和巩固统治,汉武帝、唐太宗、武则天、努尔哈赤都有屠兄弟、杀儿子、逼父亲的行为,雍正并不是个例外。他作为一个最高统治者,勤于政务,洞察世情,以雷厉风行的姿态进行整顿改革。雍正统治十三年是清朝统治的重要时期,承上启下,为以后乾隆时期的繁荣盛世打下了基础。....................
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
.............
雍正
民族: 满族
生卒年: 1678—1735
生平简介
清世宗,名爱新觉罗·胤祯(公元1678年12月13日-1735年9月28日),康熙皇帝第四子,康熙病死后继位,为清代入关第3帝。在位13年,传说为侠女吕四娘报家仇所暗杀,终年58岁;一说为正常死亡,葬于河北泰陵(今河北省易县西)。
此外,雍正还有许多值得称道的政绩,如惩治贪污、解放贱民、平定罗卜藏丹津、始派驻藏大臣等,为中国的统一与发展作出了贡献。
但是,雍正也有严重的过失和局限。他在位期间虽没有出现大规模农民起义,但零散的反抗经常发生,雍正的镇压措施十分严厉。不论具体情节,抗官者即以反叛论处,斩杀不赦。甚至拒捕时,有人"共在一处,虽非下手之人,在旁目观,即系同恶共济",均斩立决。对民间秘密结社,嘱咐官吏们"时时察访,弋获首恶,拔树寻根,永断瓜葛"。苏州手工业工人要求增加工资,罢工叫歇,雍正严加惩处,立碑永禁叫歇。雍正时文字狱日益频繁,汪景祺因"谄附"年羹尧而立斩枭首,查嗣庭因趋奉隆科多而戮尸示众,陆生楠因议论时政而被军前正法。最为轰动的是吕留良案,吕是清初具有民族思想的学者,已去世40年,后有曾静、张熙读吕氏之书,受其影响,竟去策反岳钟琪,要他反清复明,酿成大案。吕留良被开棺戮尸,其儿子、学生处死刑。雍正朝文网甚密,株连人众,处刑严酷。知识分子动辄得咎,形成闭眼不敢看现实,缄口不敢谈政治的沉闷风气。
谈起雍正,就会想到他的继位问题,学术界历来有两种意见,一种认为他受康熙遗诏继位,是合法继承;一种认为康熙并未传位与他,雍正是矫诏夺位。由于雍正即位,篡改了历史,销毁了档案,现在已找不到他矫诏夺位的确凿证据。斧声烛影,已是千古的疑案,但从各种迹象推断,他的继位确实存在很多疑点。
康熙晚年,太子废立,诸子争位,闹得乌烟瘴气,储位虚悬,人心不定。当时因准噶尔入侵西藏,康熙命皇十四子胤禵为抚远大将军,统兵援藏,给以大权,用正黄旗,称大将军王,礼仪隆重,规格极高,康熙当是意有所钟。康熙称赞胤禵的才能"大将军是我皇子,确系良将,带领大军,深知有带兵才能"。很多人心目中也以胤禵为接班人,如皇九子胤禟说胤禵"聪明绝世","才德双全,我弟兄内皆不如";"十四爷现今出兵,皇上看的也很重,将来这皇太子一定是他"。可是,康熙在畅春园猝然去世,雍正与时任步军统领,掌管京师兵权的隆科多勾结密谋,夺取了帝位,而允远在青海,鞭长莫及,故而帝梦成空。雍正后来所讲康熙弥留前遗命传位雍正的情形,仔细推敲,矛盾甚多。如说隆科多为惟一顾命之大臣,而其他谕旨中却说,康熙死时隆科多不在御前,又说康熙传诏时皇十七子胤礼在寝宫外侍候,而其他史料证明,允礼时在皇宫内值班,并不在畅春园寝宫外,如此等等。因此,是否存在这一临终传位的现场,实属疑问。
由于雍正夺位篡立,激起了皇族内部的集体抗争,除皇十三子允祥以外,雍正的其他兄弟大多反对雍正继位。胤禵是争夺皇位的对手,被从前线调回,永远禁锢。皇八子胤禩、皇九子胤禟是雍正的死对头,雍正痛恨入骨,将二人迫害致死。皇十子胤(礻+我)和皇三子胤祉、胤祉的儿子弘晟均被永远囚禁,皇十二子胤祹被降爵贬秩,连雍正的亲生儿子弘时也不满其父的作为,竟站在八叔胤禩一边,被雍正处罚致死。据朝鲜的记载,雍正上台,被杀的宗室、官员达数百人。连康熙身边一位照料皇帝起居的内务府官员赵昌,在康熙死后也立即被杀,引起举朝震惊,这大概是赵昌太了解康熙去世和传位的真相,因而得祸。康熙生前长住畅春园,死后葬在东陵,而雍正长住圆明园,别建西陵,似乎要远远躲开父亲。须知雍正的迷信思想很浓厚,如果做了对不起父亲的事,就会有这类悖于常理的举止。雍正后来似乎也愧恧不安,乾隆说:胤禩、胤禵"觊觎窥窃,诚所不免,及皇考绍登大宝,怨尤诽谤,亦情事所有,将未有显然悖逆之迹。皇考晚年屡向朕谕及,愀然不乐,意颇悔之"。这是不是雍正受到了良心谴责的内心表露呢?
雍正的继位存在很多疑点,可能出于矫诏篡立。这样说并不是要抹煞他的历史功绩,应该说封建统治者骨肉相残是经常发生的。封建社会中,即使一个英明的君主也往往要用阴谋手段和残酷斗争来夺取和巩固统治,汉武帝、唐太宗、武则天、努尔哈赤都有屠兄弟、杀儿子、逼父亲的行为,雍正并不是个例外。他作为一个最高统治者,勤于政务,洞察世情,以雷厉风行的姿态进行整顿改革。雍正统治十三年是清朝统治的重要时期,承上启下,为以后乾隆时期的繁荣盛世打下了基础。....................
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
MV ต่อไปนี้เป็นเพลงประกอบหนังทีวีเรื่อง "ศึกสายเลือด 大内群英" ที่สร้างโดยบริษัทฮ่องกง
ดูภาพจะชัดเจนกว่าคำบรรยาย
รวมเรื่องเกี่ยวกับปักกิ่ิง 深入北京
เขียนโดย สุวรรณา สนเที่ยง 张碧云
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น